บริการซื้อขายหลักทรัพย์
(คลิกที่รูปเพื่อไปยังหัวข้อนั้น ๆ และคลิกที่ Go to Top เพื่อกลับมาที่ส่วนบนของหน้าเว็บ)

ประเภทของการเปิดบัญชี
-
บัญชีเงินสด (Cash Account) เป็นบัญชีที่ ลูกค้าต้องวางหลักประกัน 20% ของวงเงินดังกล่าวก่อน ซึ่งหลักประกันดังกล่าวอาจเป็นเงินสด และ/หรือ หลักทรัพย์ก็ได้ ถ้ามีการวางหลักประกันเป็นเงินสด ลูกค้าจะได้รับดอกเบี้ยเงินฝากในส่วนนี้ด้วย จากนั้น วันที่ T+2 จึงจะมีการชำระราคาเต็มจำนวนโดยการตัดบัญชีอัตโนมัติ (ATS)
บัญชีประเภทนี้เหมาะกับนักลงทุนประเภทใด?
เหมาะสำหรับนักลงทุนที่มีรายได้ประจำหรือมีความสามารถในการชำระหนี้ดีพอควร
-
บัญชีวางหลักประกันเต็มจำนวน (Cash Balance Account) เป็นบัญชีที่ลูกค้าต้องวางหลักประกัน 100% ก่อนการซื้อหลักทรัพย์ ซึ่งหลักประกันดังกล่าวต้องเป็นเงินสดเท่านั้น โดยลูกค้าสามารถซื้อหลักทรัพย์ได้ภายในวงเงินที่ฝากไว้กับบริษัทหลักทรัพย์ หากลูกค้าซื้อหลักทรัพย์ไปจำนวนหนึ่งแล้ว บริษัทหลักทรัพย์จะดำเนินการตัดเงินจากบัญชีหลักทรัพย์ของลูกค้าออกไปเพื่อชำระค่าซื้อ ซึ่งจะมีผลให้อำนาจซื้อหลักทรัพย์ของลูกค้าลดลงเท่ากับมูลค่าของหลักทรัพย์ที่ซื้อไป เงินสดที่ลูกค้าฝากไว้กับโบรกเกอร์ก็จะได้รับดอกเบี้ยฝากด้วยเช่นกัน
บัญชีประเภทนี้เหมาะกับนักลงทุนประเภทใด?
เหมาะสำหรับนักลงทุนที่บริษัทหลักทรัพย์ประเมินแล้วว่ามีความสามารถในการชำระหนี้ไม่สูงนัก
ความแตกต่างระหว่างบัญชี Cash กับ บัญชี Cash Balance

-
บัญชีเงินกู้ (Credit Balance Account) เป็นบัญชีที่มีรูปแบบการให้กู้ยืมเงินเพื่อซื้อหลักทรัพย์ ซึ่งลูกค้าต้องนำเงินสด และ/หรือ หลักทรัพย์มาวางเป็นหลักประกันการชำระหนี้กับบริษัทหลักทรัพย์ก่อนซื้อหลักทรัพย์ (ตามสัดส่วนที่แต่ละบริษัทหลักทรัพย์กำหนด โดยลูกค้าสามารถตรวจสอบประกาศของบริษัทที่เกี่ยวข้องกับ Marginable Securities ล่าสุด
) เช่น หากบริษัทหลักทรัพย์ กำหนดให้การซื้อหลักทรัพย์ A มีสัดส่วนที่ 50% หมายความว่า ในการซื้อหลักทรัพย์ A มูลค่า 100 บาท ลูกค้าวางหลักประกัน 50 บาท และกู้ยืมจากบริษัทหลักทรัพย์ อีก 50 บาท เป็นต้น โดยบริษัทหลักทรัพย์จะคำนวณมูลค่าหลักประกันทุกวัน หากมูลค่าหลักประกันลดลงถึงระดับหนึ่ง อาจถูกเรียกให้นำมาวางเพิ่มเพื่อรักษาสถานภาพทางบัญชีไว้ แต่หากลูกค้าไม่สามารถเพิ่มหลักประกันได้ก็อาจถูกบังคับขาย หรือ Force Sale เพื่อเพิ่มมูลค่าหลักประกันในบัญชี ซึ่งการซื้อขาย ในบัญชี Credit Balance หรือ บัญชี Margin นั้น ลูกค้าสามารถซื้อขายได้เฉพาะหลักทรัพย์ที่บริษัทหลักทรัพย์กำหนดเท่านั้น
บัญชีประเภทนี้เหมาะกับนักลงทุนประเภทใด?
เหมาะสำหรับนักลงทุนที่มีความสามารถในการลงทุนและชำระเงินดีพอควรจึงยอมปล่อยวงเงินกู้ให้
ทำความรู้จักบัญชี Credit Balance ให้มากขึ้นผ่าน 4 Episode กับ AWS Infographic คลิกที่ AWS Infographic ด้านล่างเพื่อดูภาพขนาดใหญ่
- บัญชีเงินกู้ TSFC (Margin Account) เป็นบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ที่เพิ่มกำลังซื้อให้กับนักลงทุนที่ต้องการลงทุนในหลักทรัพย์ที่สูงกว่าเงินลงทุนที่ตนมีอยู่ที่มากกว่าด้วยบัญชีการกู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์ผ่าน TSFC (บริษัทหลักทรัพย์ เพื่อธุรกิจหลักทรัพย์) ที่เพิ่มทางเลือกในการลงทุนกับจำนวนหลักทรัพย์ที่อนุญาตให้ซื้อขายกว่า 300 หลักทรัพย์ และอัตรามาร์จิ้น (อัตราการวางหลักประกัน) เริ่มต้นที่เหมาะสมกับแต่ละหลักทรัพย์
Go to top
ค่าธรรมเนียมการซื้อขายหลักทรัพย์ และอัตราต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์
ก่อนเริ่มการซื้อขายหลักทรัพย์ ลูกค้าจะต้องฝากเงินเข้ามายังบัญชีธนาคารของบริษัทฯ เพื่อเป็นวงเงินเริ่มต้นในการซื้อขายพร้อมรับดอกเบี้ยตามประกาศของบริษัทฯ โดยลูกค้าสามารถดำเนินการได้ 2 วิธี เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิบัติงานของสมาคมบริษัทหลักทรัพย์ไทย (ASCO) ดังนี้
วิธีที่ 1 : ชำระผ่านการตัดบัญชีเงินฝากอัตโนมัติ (ATS)
การวางหลักประกัน โดยการตัดบัญชีเงินฝากอัตโนมัติ (ATS) เพื่อเป็นเงินหลักประกันในบัญชีซื้อขาย สามารถใช้บริการได้ผ่าน 10 ธนาคาร ได้แก่
- ธนาคารกรุงไทย (KTB)
|
- ธนาคารกสิกรไทย (KBANK)
|
- ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB)
|
- ธนาคารกรุงเทพ (BBL)
|
- ธนาคารยูโอบี (UOB)
|
- ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (BAY)
|
- ธนาคารธนชาติ (TBANK)
|
- ธนาคารทหารไทย (TMB)
|
- ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์ (LH)
|
- ธนาคารซีไอเอ็มบี (ไทย) (CIMB)
|
โดยการใช้บริการดังกล่าว ลูกค้าจะต้องเปิดใช้บริการชำระค่าซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านการตัดบัญชีเงินฝากอัตโนมัติ (ATS) และได้รับอนุมัติการใช้บริการจากทางธนาคารก่อน จึงจะสามารถวางหลักประกัน และ ชำระหลักประกันผ่านช่องทางนี้ได้
โดยลูกค้าสามารถแจ้งฝากหลักประกันเข้าบัญชีหลักทรัพย์ของท่าน ได้ 3 วิธี ดังนี้

ทั้งนี้ บริษัทอนุโลมให้โอนเงินเข้าบัญชีบริษัทฯ ตามธนาคารที่กำหนดตามด้านล่าง ภายใต้ชื่อบัญชี "บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย เวลท์ จำกัด" ประเภทกระแสรายวัน เข้ามาได้ในช่วงที่ ATS ยังไม่มีผล ซึ่งมีกำหนดระยะเวลาไม่เกิน 1 เดือน นับจากวันที่เปิดบัญชีสำเร็จ และส่งสำเนาใบนำฝาก / สลิปการโอนเงินผ่าน ATM มายังโทรสารหมายเลข 02-680-5070 หรือ อีเมล์ settlement@asiawealth.co.th พร้อมระบุชื่อ-นามสกุล และ เลขที่บัญชี xxxxxx-x ของท่าน
บัญชีกระแสรายวัน
1. ธนาคารกรุงไทย (KTB)
สาขา
|
เลขที่บัญชี |
สาขานานาเหนือ
|
000-6-14736-4 |
ต่างจังหวัด - ขอนแก่น
สาขาเซ็นทรัลพลาซ่า ขอนแก่น
|
982-0-95428-2 |
ต่างจังหวัด - ชลบุรี
สาขาชลบุรี
|
207-6-07186-5 |
ต่างจังหวัด - ระยอง
สาขาท่าประดู่ ระยอง
|
235-6-02031-4 |
2. ธนาคารกสิกรไทย (KBANK)
สาขา
|
เลขที่บัญชี |
สาขาหลังสวน
|
082-1-09337-6 |
ต่างจังหวัด - ขอนแก่น
สาขาเซ็นทรัลพลาซ่า ขอนแก่น
|
871-1-00045-4 |
ต่างจังหวัด - ชลบุรี
สาขาถนนวชิรปราการ (ชลบุรี)
|
262-1-04016-5 |
3. ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB)
สาขา
|
เลขที่บัญชี |
สาขาถนนวิทยุ
|
049-3-13504-0 |
ต่างจังหวัด - ขอนแก่น
สาขาเซ็นทรัลพลาซ่า ขอนแก่น
|
468-0-34045-0 |
ต่างจังหวัด - ฉะเชิงเทรา
สาขาบิ๊กซี ฉะเชิงเทรา
|
943-3-00156-4 |
4. ธนาคารกรุงเทพ (BBL)
สาขา
|
เลขที่บัญชี |
สาขาถนนเพลินจิต
|
205-3-03771-5 |
ต่างจังหวัด - ขอนแก่น
สาขาเซ็นทรัลพลาซ่า ขอนแก่น
|
546-3-50049-5 |
ต่างจังหวัด - ชลบุรี
สาขาชลบุรี
|
265-3-07776-4 |
5. ธนาคารยูโอบี (UOB)
สาขา
|
เลขที่บัญชี |
สาขาสีลม 2
|
958-3-63026-7 |
6. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (BAY)
สาขา
|
เลขที่บัญชี |
สาขาอาคารเพลินจิตทาวเวอร์
|
285-0-01783-8 |
7. ธนาคารธนชาต (TBANK)
สาขา
|
เลขที่บัญชี |
สาขาต้นสน
|
001-3-01565-4 |
8. ธนาคารทหารไทย (TMB)
สาขา
|
เลขที่บัญชี |
สาขาหลังสวน
|
171-1-01924-8 |
9. ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์ (LH)
สาขา
|
เลขที่บัญชี |
สำนักลุมพินี
|
889-1-01702-6 |
10. ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย (CIMB)
สาขา
|
เลขที่บัญชี |
สาขาหลังสวน
|
800-0-22016-9 |
วิธีที่ 2 ชำระผ่านการโอนเงินผ่านระบบ BahtNet
การวางหลักประกันโดยการโอนเงินผ่านเครือข่ายอิเล็กทรอนิส์ระหว่างธนาคารผ่านธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand Automated High-value Transfer Network (BahtNet))
การถอนเงินหลักประกัน
ลูกค้าสามารถส่งคำสั่งถอนเงินหลักประกันที่วางในบัญชีได้ 3 วิธี ดังนี้
- แจ้งความประสงค์ผ่านเจ้าหน้าที่การตลาด พร้อมลงนามในแบบฟอร์ม >> (แบบฟอร์มใบขอถอนเงินหลักประกัน)
- แจ้งความประสงค์ผ่านส่วนงานชำระราคาซื้อขาย ฝ่ายปฎิบัติการหลักทรัพย์ (โทร. 0-2680-5000 กด 3) พร้อมลงนามในแบบฟอร์ม >> (แบบฟอร์มใบขอถอนเงินหลักประกัน)
- แจ้งถอนเงินหลักประกันผ่านระบบ Asia Wealth Securities Online (iClick) คลิกที่แบนเนอร์ด้านล่างเพื่อเข้าสู่ระบบ

การชำระราคาจะดำเนินผ่านการตัดบัญชีเงินฝากอัตโนมัติ (ATS) โดยสามารถเลือกใช้บริการจากธนาคารต่างๆ ดังนี้
- ธนาคารกรุงไทย (KTB)
|
- ธนาคารกสิกรไทย (KBANK)
|
- ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB)
|
- ธนาคารกรุงเทพ (BBL)
|
- ธนาคารยูโอบี (UOB)
|
- ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (BAY)
|
- ธนาคารธนชาติ (TBANK)
|
- ธนาคารทหารไทย (TMB)
|
- ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์ (LH)
|
- ธนาคารซีไอเอ็มบี (ไทย) (CIMB)
|
ในการขอใช้บริการตัดบัญชีเงินฝากอัตโนมัติ (ATS) จะใช้เวลาในการดำเนินการกับทางธนาคารไม่เกิน 1 เดือน โดยบริษัท จะทำการส่งจดหมายแจ้งการเริ่มใช้บริการแก่ท่านเมื่อธนาคารอนุมัติ
การชำระค่าซื้อหลักทรัพย์
กรณียังไม่สามารถใช้บริการตัดบัญชีเงินฝากอัตโนมัติได้ ลูกค้าต้องโอนเงินเข้าบัญชีบริษัทตามเลขที่บัญชีทางด้านบน ก่อนเวลา 15:30 น. ของวันที่ T+2 (2 วันทำการหลังจากวันที่ซื้อหลักทรัพย์) และส่งสำเนาใบนำฝาก/สลิปการโอนเงินผ่าน ATM กลับมายังโทรสารหมายเลข 02-680-5070 พร้อมระบุชื่อ-นามสกุล เลขที่บัญชี xxxxxx-x กรณีใช้บริการตัดบัญชีเงินฝากอัตโนมัติ ลูกค้าต้องโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารที่ใช้บริการ ATS ก่อนเวลา 15:30 น. ของวันที่ T+2 (2 วันทำการนับจากวันที่ซื้อหลักทรัพย์)
การชำระค่าขายหลักทรัพย์
บริษัทจะโอนเงินเข้าบัญชีลูกค้าตามที่แจ้งไว้ และ/หรือ บัญชีธนาคารที่ใช้บริการ ATS ก่อนเวลา 12:00 น. ของวันที่ T+2 (2 วันทำการหลังจากวันที่ขายหลักทรัพย์)
หมายเหตุ :
ท่านสามารถดูคู่มือ + ขั้นตอนการทำรายการผูกบัญชีอัตโนมัติผ่าน ATM ของธนาคารพาณิชย์ต่างๆ ได้โดย < คลิกที่นี่ >
Go to top